ทุกคนทำงาน เก็บเงิน เพราะไม่ว่าใครก็อย ากมีเงินเหลือ มีเก็บมีกินทั้งนั้น แต่พอถึงขั้นลงมือทำ บางครั้งรู้ตัวอีกที ก็เหมือนใช้เงินจนเหลือเงินเก็บนิดเดียวแล้วไง จากนี้ไป เพื่อสร้างความมั่นคงให้ชีวิต เราจึงมีเท คนิ ค ที่ทำได้ในชีวิตประจำวัน
เช่น พวกฟิตเนส ที่สมั ครไว้เพราะอย ากหุ่ น ดีแต่อย่ าลืมว่า
คุณสามารถต่อ อายุการเป็นสม าชิ กในภายหลังได้ ถ้าไม่ได้ไปจริงๆ ก็ยกเลิกไป
2. ลงทะเบี ยนรับสิท ธิพิเศ ษ
ร้านค้ าหลายร้าน มีสิ่งพวกนี้ก็ขออย่ าละเลยเพราะบางที อาจได้รับเช็ คของขวัญบัต รกำนัลดีๆ ไรงี้ที่ทำให้ประหยัดได้อีก
3. แบ่งประเภท งบประมาณ ลำดับความสำคัญแต่ละอย่างไป
เพราะมันจะทำให้เราเห็นงบรายจ่ายทั้งหมดหลัง หั ก เงินออม ก็เพราะเมื่อลงมือจริงๆ นั้น
หลายครั้งก็จ่ายไม่ได้จริง ตามที่หวังหรอ ก เพราะมักจะจ่ายให้กับ ‘สิ่งที่ไม่สำคัญ ที่เกิดขึ้นก่อนไง’
เช่น จ่ายให้กับค่าอาหารที่ อย ากทานก่อน ลืมคิดไปว่า มีส่วนที่สำคัญ
ที่จะตามมาในช่วงสิ้นเดือน อย่าง ค่าเช่าบ้าน ค่าน้ำ ค่าไฟ เหล่านี้
4. รายจ่าย ประจำ ที่ลดได้
ค่าอาหารนั้นเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่าย ที่มากพอสมควร ของชีวิตประจำวันเลยก็ว่าได้
วิธีหนึ่งที่จะลดรายจ่ายก็คือ การ ป ร ะ ห ยั ด ค่าใช้จ่ายส่วนนี้ให้มาก
สำหรับการลด รายจ่าย ค่าอาหาร ก็ทำได้เช่น ทำอาหารทานเอง จะประหยัดค่าใช้จ่าย
มากกว่าการซื้อ หากเป็นครอบครัว ที่มีคนหลายๆ คน ก็จะประหยัดได้เยอะเชียว
5. ซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า คุณภาพดี
เป็นสิ่งของชิ้ นใหญ่ที่ควรลงทุ นเพื่อความสะดวกสบายในภายภาคหน้า
และควรตระหนักถึง การประหยัดพลังงานด้วยไม่ใช้จะซื้ ออย่างเดียว
เพราะการประหยัดค่าไฟ ช่วยคืนเงิน ในกระเป๋าได้ไม่น้อยเลย
6. ตั้งต้นด้วยเงินออมไว้
บางคนคิดว่าเงินเก็บคือเงินที่เหลือ จากการใช้จ่าย รายได้ – รายจ่าย เท่ากับเงินออม
คิดแบบนี้ซึ่งถูกต้อง แต่มันก็ไม่ใช่แนวคิดตั้งต้นไง สำหรับคนที่อย ากเก็บเงิน
เพราะเราไม่ควรมองเงินออมเป็นเงินเหลือ มันไม่ใช่ ควรมองเป็นเงินที่ถูก
“จัดหม วดห มู่” เอาไว้เราะเราควร หั ก เงินออม เก็บเอาไว้ก่อนเสมอ จากนั้น เราค่อยใช้จ่ายตามงบที่มี
7. บันทึกการใช้จ่าย ให้เป็นกิจวัตร
บางครั้งเราก็ไม่รู็ตัวว่าใช้เงินไปกับอะไรบ้าง จ่ายไปกับอะไรที่จำเป็นหรือไม่ก็ไม่รู้
ปัญหานี้แก้ไขได้ ด้วยการจดบันทึกรายรับรายจ่าย
ให้เป็นนิสั ย ทุกวันนี้มีแอ ปพลิเ คชัน มากมาย ที่เกี่ยวกับการบันทึก
รายรับ รายจ่าย ทั้งใน i O S หรือจะเป็น A n d r o i d ให้คุณได้ใช้กัน
8. เลือ กบัญ ชีธน าคารด อ กเบี้ ยดีๆ
เพื่อสร้าง ผ ล ต อ บ แ ท น และก็ลองเลือ ก แบบหั ก บัญชี แบบอัตโน มัติ
เท่านี้ก็สามารถ สร้างวินัยการออมได้แล้ว จะได้ไม่ต้องกังวลว่า เดือนนี้ออมเงินยังหว่า
ซึ่งวิธีนี้ ง่ายต่อ การไปถึงเป้าห ມ าย ในการออมที่เราวางไว้ไง
9. อย่ามีเฉพาะ ออมทรัพย์
ฝากประจำหรือลงทุ นบ้าง ไม่ก็หั กอัตโน มัติ
เพื่อสร้าง วิ นั ย การเก็บออม จะได้ไม่ต้องกังวลว่า
เดือนนี้ได้ออมเงินหรือยัง ซึ่งวิธีนี้ง่าย ต่อ การไปถึงเป้าห ມ ายที่วางไว้
10. อย่าซื้อเสื้ อ ผ้าราค าถูก
ในการซื้อเสื้ อผ้า ก็คือ การเลือ กเสื้อผ้า ที่ใช้วัสดุคุณภาพดี เพราะหากคุณซื้อเสื้ อผ้าราค าถูก
เนื้ อผ้าไม่ดีแล้ว จะทำให้เสื้อผ้าเหล่านั้น เ สื่ อ ม ส ภ า พ เร็ว สุดท้ายคุณก็ต้องซื้ อใหม่อีก
11. ใช้ระบ บขนส่ง แบบสาธารณะ
การโดยส ารด้วยรถสาธารณะนั้น ช่วยให้คุณประหยัด
ทั้งยังช่วยประหยัดพลั งงาน แทนการขับรถยนต์ส่วนตัวด้วย
แล้วคุณก็จะพบว่า มันประหยัดได้ไปกว่าเดิมเยอะ
12. ใช้ ก ฎ 24 ชม. และการเปรียบเทียบ
เวลาที่คุณอย ากซื้ออะไรที่ราคาสูงๆ ลองกลับบ้านไปไปคิดดูอีกสัก 24 ชม. ก่อน
ค่อยกลับมาซื้ออีกครั้ง เพราะถึงเวลานั้นเราอาจจะไม่อย ากได้มันแล้วไง
คำนวณร าค าสิ่งของ ที่จะซื้อดูก็ได้ เทียบกับจำนวนค่าตอบ แทนรายวันของเรา
จากการทำงาน สิ่งที่สำคัญเลย คือ การ “ไม่เครี ยด” เพราะถ้าเราเครี ยด จะยิ่งทำให้คุณใช้เงินเปลือง
โดยที่คุณเองก็ไม่รู็ตัว เราต้องค่อยๆ ทำ ค่อยเป็นค่อยไป แล้วคุณจะพบว่า เรามีเก็บมากขึ้น
13. อ ย่ าคิดแค่ประหยัด
การออมเป็นสิ่งทีดี โดยเราควรตั้งเป้าห ມ ายในการออมระยะสั้น
เช่น ออมให้ได้ 300 หรือมากกว่านั้นต่อสัปดาห์ จะทำให้เราไม่รู้ว่า
มันเหนือบ่ากว่าแรง และมีกำลังใจในการทำแล้วควรวางแผนการ
เ ก ษี ย ณ ให้เร็วที่สุด อ ย่ า คิดแค่ทำงานไปวันๆ ควรลงทุ นในกองทุ นเอาไว้ก็ดี
14. หยุดใช้บั ตรเ ค รดิ ต
เพราะความสะดวก ของมันจึงทำให้ใช้ เกินงบที่ตั้งไว้มาก จนทำให้
เก็บเงินได้ไม่ถึงเป้าสักที เท คนิคง่ายๆ ในการยับยั้งชั่ งใจของเรา
เขี ยนข้อความเตื อนตัวเองบ่อยๆ บนกระด าษ แปะบนบั ตรเ ค รดิ ต
เพื่อเป็นข้อความเตือนใจเรา ให้คิดก่อนซื้อ ในทุกๆ ครั้งไงล่ะ
15. ลดรายจ่าย เรื่องเสื้อผ้า หน้าผม
เปลี่ยนสิ่งที่ไม่ใช้แล้ว เป็นเงิน เช่น เสื้ อผ้าที่กำลังล้นตู้อยู่
บางคน มีเสื้อผ้าเยอะแต่ใส่ไปไม่หมด ตัดใจแล้วข า ยต่อบ้างก็ดีนะ
เพราะมันเป็น ของสะสมเป็น ของที่มีคุณค่าทางจิตใจ มันก็จริงนะ
แต่ยังไงซะ ใครที่เป็นนักสะสม ก็มักจะเต็มไปด้วยรายจ่ายที่ตามมามากมาย
ถ้าคุณไม่หยุดตัวเอง เมื่อมองย้อนกลับมา คุณอาจพบว่ามีของสะสมอยู่
มันเต็มบ้านไปหมด แล้วเงินในบัญ ชีกลับว่าง ไม่เหลือสักบาท