วิธีเปลี่ยนนิสัยเป็น “คน มีกิน มีเงินเก็บ” ใช้เงินแบบไม่ขัดสน

ใกล้สิ้นเดือนแล้ว เงินเดือนก็ใกล้จะออ กแล้ว หลายคนเป็น โ ร ค ทรัพย์จางตั้งแต่ช่วงกลางเดือนนั่น อาจเป็นเพราะยังบริหารเงินเดือนได้ไม่ดีเท่าที่ควร หากปล่อยไว้คงไม่ดีแน่เรา

1. แบ่งเงินทันที

ทันทีที่เงินออ ก สิ่งแรกที่ต้องทำคือ จัดสรรเงินให้เป็นก้อน ๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่วไปในชีวิตประจำวันก้อนหนึ่งใช้หนี้

อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อนเป็นเงินออมไว้เผื่ออนาคตด้วย

ซึ่งการจัดสรรเงินนี้สามารถประยุกต์ได้ ตามรายรับรายจ่ายของแต่ละคน

2. ใช้จ่ายอย่างรู้ตัว

ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ซื้อความอยากได้ อยากมี อยากกินอยากซื้อที่เกินความจำเป็นในชีวิตเรานั้น มีกันทุกคน

ดังนั้น เราสามารถซื้อทุกอย่างที่ต้องการได้ตราบเท่าที่มีเงินจ่าย แต่ต้องยึดกฎเหล็กว่าจะต้องไม่สร้างหนี้

และไม่ไปดึงเงินก้อนอื่นที่แบ่งไว้แล้วก่อนหน้านี้มาใช้

3. ออมให้เป็นนิสัย

ไม่จำเป็น ต้องอดทุกความสุข หมดสนุกกับทุกอย่าง เพราะเราวางแผนเองได้ว่าจะออมเท่าไหร่จะใช้วิธีออมทีละนิดอย่างสม่ำเสมอ

หรือจะเข้มงวดตามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10 ของรายรับก็ได้แต่อย่าละเลยการออมเงิน เพราะเงินส่วนนี้นี่แหละที่จะช่วยให้อยู่รอดในยามคับขัน

รวมถึงเป็นเงินสำหรับใช้จ่ายในอนาคตตามหลักแล้ว เราควรมีเงินสำรองไว้ใช้ในกรณี ฉุ ก เ ฉิ น อย่างน้อย 3 เดือนเมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น

ก็ยังมีเงินใช้ และหากบริษัทมีสวัสดิการให้พนักงาน เป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี ซึ่งจะช่วยให้การออมเงินของเรานั้นง่ายขึ้น

หากเกิดกรณีที่จำเป็นต้องใช้เงิน หรือเกษียณงานไปแล้ว ก็มั่นใจได้ว่ามีเงินก้อนให้ใช้แน่นอน

4. บันทึกรายรับรายจ่าย

การควบคุมการใช้เงินที่ดีที่สุด ก็คือบันทึกการใช้เงินของตนเองซึ่งประโยชน์จากการเขียนรายรับรายจ่ายทุกวัน

จะทำให้เรารู้รายละเอียดการใช้เงินในแต่ละวันว่ามีเงินในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่ หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน

เมื่อใช้จ่ายไปแล้วเหลือเท่าไหร่อีกทั้งยังทำให้เราเห็นรายจ่ายส่วนเกินได้ง่ายจึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่าย

ที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นตามไปด้วย

5. นำไปลงทุน

การลงทุนที่ดีคือ การทำให้เงินที่นอนอยู่นิ่ง ๆ ไปทำให้งอ กเงย ซึ่งเราสามารถนำเงินไปลงทุนได้ตามรูปแบบที่สนใจ

และเห ม าะสมกับรายรับรายจ่าย อย่างไรก็ตาม ทุกการลงทุน มีความ เ สี่ ย ง จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาวิธีการลงทุน

ให้เข้าใจเป็นอย่างดี และเลือ กปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น

6. บริหารการชำระหนี้

หนี้ที่ว่าคือ ค่าบ้าน ค่ารถ ค่าบัตรเครดิต และอีก ส า ร พัดหนี้ การวางแผนจ่ายหนี้จะช่วยให้การเงินไม่ขาดสภาพคล่อง

เช่น ชำระหนี้ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเสียดอ กเบี้ย และค่าตามทวงหนี้ชำระหนี้รายเดือนให้ได้จำนวนเงินขั้นต่ำเป็นอย่างน้อย

ถ้ายังมีเงินเหลือ ก็โปะหนี้ให้มากหน่อยเพื่อลดเงินต้น หรือถ้าฝืดเคืองจริง ๆ ควรเลือ กจ่ายหนี้ที่ มี ดอ กเบี้ยสูงก่อน เพื่อตัดวงจรดอ กเบี้ยบานปลาย

7. รักษาสถานภาพ ทางการเงิน

การบริหารเงินจะต้องมีวินัยและปฏิบัติต่อเนื่อง อย่างเคร่งครัด ถ้าเริ่มทำได้เป็นระบบอยู่ตัวแล้วก็ต้องรักษาสถานภาพทางการเงิน

ไว้ให้ได้ตามมาตรฐานในตอนแรกด้วย ทั้งนี้อย่าลืมแผนสำรอง สำหรับปรับการใช้เงินให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์

ด้วยเพียงเท่านี้สภาพการเงินก็จะคล่องตัว และมีความมั่นคงในระยะยาว

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.