การมีหนี้สินถือว่าเป็นปัญหาของบุคคลและระดับชาติด้วย หากคุณไม่อยากมีหนี้มากเกินกว่าที่จะจ่ายไหว เรามีข้อมูลที่ควรทราบมาฝากกัน
1.หนี้ไม่ควรเกิน 1 ใน 3 ของรายได้
คนที่ต้องการสร้างความมั่นคงให้ครอบครัว ด้วยการมีบ้าน มีรถยนต์ของตัวเอง ควรคำนวณตัวเลขการชำระหนี้ให้รอบคอบ
กล่าวคือควรกำหนดตัวเลขหนี้สินที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน ไม่ให้เกินปริมาณ 1 ใน 3 ของรายได้ประจำหรือเงินเดือน
จะช่วยลดความเสี่ยงการมีหนี้สินเกินตัวจนต้องไปกู้หนี้นอ กระบบมาจ่าย หรือถูกขึ้นบัญชีดำว่าขาดการชำระ
2.ไม่มีเงินจ่ายต้องขอประนอมผ่อนผันหนี้
หากมีหนี้สินที่ต้องชำระตามกำหนด แต่ไม่สามารถจ่ายได้ เพราะปัญหาจากไวรัสโควิดหรือขาดวินัยในการใช้จ่าย
ก็ไม่ควรหนีหนี้เงียบหายเฉย ๆ ควรติดต่อสถาบันการเงินในการผ่อนชำระในระยะเวลาที่นานขึ้น
โดยต้องยอมเสียดอ กเบี้ยให้แก่สถาบันเหล่านั้นเพิ่มขึ้นแทนการมีประวัติเสียด้านการเงิน
3.ไม่สร้างหนี้นอ กระบบ
การกู้ยืมเงินนอ กระบบเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง แม้ว่าจะได้เงิน มาง่ายและรวดเร็ว
แต่คุณต้องจ่ายอัตราดอ กเบี้ยสูงมากรายวันหรือรายเดือน หากคุณไม่สามารถชำระหนี้ได้
จะเสี่ยงต่อ การถูกเจ้าหนี้ที่มีพฤติกรรมโหดร้ า ยรุนแรงส่งลูกน้องมาทำร้ า ยร่างกายหรือทวงหนี้ประจานให้ได้รับความอับอายอีกด้วย
4.ไม่สร้างหนี้ด้วยการเล่นการพ นั น
หลายคนหาทางออ กด้วยการเล่นพ นั น หวังว่าจะมีโชคและนำเงิน มาใช้หนี้ แต่ในความเป็นจริงเจ้ามือพ นั นก็จะไม่ปล่อยให้คุณได้มีโอ กาสเช่นนั้น
และยังทำให้คุณเ ส พติดการพ นั นจนหน้ามืด จึงทำให้หนี้่ที่มีอยู่ยิ่งพอ กพูนขึ้นเรื่อย ๆ ตรงกับคำโบราณที่กล่าวว่า
ถูกโจรปล้นสิบครั้งยังไม่เท่ากับไฟไหม้ครั้งเดียว ถูกไฟไหม้ 10 ครั้งก็ยังไม่เท่ากับเสียค่าพ นั นครั้งเดียวนั่นเอง
5.ต้องหารายได้เพิ่ม
เมื่อคุณมีหนี้สิน มากขึ้น จำเป็นต้องสร้างรายได้เสริมด้วยการพัฒนาความสามารถด้านอื่น ๆ เพื่อหารายได้จากหลายช่องทาง
เช่น เขียนบทความขายให้แก่เว็บไซต์ออนไลน์, ทำกับข้าวขายผ่าน Facebook, ขับขี่รถสาธารณะส่งอาหารหรือรับ-ส่งบุคคล
เพื่อหารายได้หลังเลิกงาน เป็นต้น ก็จะทำให้คุณสามารถจัดการหนี้สินได้เร็วยิ่งขึ้น
เรื่องหนี้สินเป็นเรื่องใกล้ตัวของเราทุกคน หวังว่าข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเป็นประโยชน์ในการนำไปปรับใช้
เพื่อให้ทุกท่าน มีภาระหนี้สินน้อยลงมาอยู่ในระดับที่บริหารจัดการได้ และไม่เกิดความเครียดมากเกินไปด้วย