7 ความคิดที่จะทำให้จน อยากรวยจงอย่าทำ

หลาย ๆ คนน่าจะรู้จักคุณ คุณ คิ โ ย ซ า กิ ผู้เขียนในหนังสือ การเงินชื่อดังอย่าง พ่ อ ร ว ย ส อ น ลู ก เขาบอ กว่าพ่อที่แท้จริงของเขานั้น มีความคิดแบบ “พ่อจน” ส่วนพ่อของเพื่อนสนิทเขามีความคิดแบบ “พ่อรวย”

ซึ่งเริ่มต้นด้วยเงินเพียงน้อยนิด แต่สามารถกลายเป็นหนึ่งในคนที่รวยที่สุดของฮาวายได้! ด้วยการที่เขาได้คลุกคลีกับพ่อทั้งสองท่าน คุณ คิ โ ย ซ า กิ ก็ได้เรียนรู้ว่าคำพูดของพ่อทั้งสองนั้นแตกต่างกัน

เราลองมาดูกันว่า ถ้า อยาก จะมีทัศนคติแบบคนรวยต้องทำอย่างไร แล้วความคิดแบบไหนที่ควรหลีกเลี่ยง?

พ่อจนบอ กว่า “ฉันไม่มีวันรวยหรอ ก”

พ่อรวยบอ กว่า “ฉันเป็นคนรวย”

แม้ว่าพ่อรวยของคุณ คิ โ ย ซ า กิ จะเจอภาวะล้มละลาย เขาก็ยังเรียกตัวเองว่า “คนรวย”

โดยเสริมว่า ความแตกต่างระหว่างการล้มละลายกับความจนก็คือ การล้มละลายน่ะมันแค่ ชั่ ว ค ร า ว แต่ความจนน่ะคือตลอดไป”

พ่อจนบอ กว่า “ฉันซื้อมันไม่ได้หรอ ก”

พ่อรวยบอ กว่า “ฉันจะซื้อมันได้อย่างไร”

ประโยคของพ่อจนนั้นเป็นเพียงประโยคบอ กเล่าที่ชวนให้ท้อถอยเสียเหลือเกิน แค่พูดคำนี้ ส ม อ ง ก็ไม่ทำงานต่อแล้วส่วนประโยคของพ่อรวย นั้นเป็นคำถามที่ ก ร ะ ตุ้ น ส มอ ง ให้คิดหาวิธีสร้างเงินเพื่อมาซื้อสิ่งนั้น ๆ แต่เดี๋ยวก่อน!

ขาช้อปอย่าเพิ่งเฮไป นี่ไม่ได้ห ม ายความว่าเราควรจะซื้อทุกอย่างที่เราปรารถนา แต่ประเด็นอยู่ที่การฝึก ส ม อ ง ให้คิดหาคำตอบเรื่อยๆ ต่างหาก ว่าจะหาทางสร้างเงินอย่างไร ไม่แน่ว่าพอเราได้เงินนั้น มาแล้ว เราอาจจะไม่ได้ อยากได้ของชิ้นนั้นแล้วก็ได้

พ่อจนบอ กว่า “บ้านของฉันคือสินทรัพย์”

พ่อรวยบอ กว่า “บ้านของฉันคือหนี้สิน”

หลายคนยังไม่เข้าใจความแตกต่าง ระหว่างสินทรัพย์และหนี้สิน ให้เราอธิบายง่ายๆ ละกันสมมติเราตกงานวันนี้สินทรัพย์คือสิ่งที่จะยังทำเงินให้เราได้ส่วนหนี้สินจะดึงเงินออ กจากเรา ในกรณีของบ้าน ซึ่งเป็นตัวอย่างข้างต้นนั้น เป็นสิ่งที่มีมูลค่าสูง แต่กลับไม่ค่อยเพิ่มมูลค่าเมื่อเวลาผ่านไปสักเท่าไรนัก

แถมเราอาจจะต้องจ่ายดอ กเบี้ยเงินกู้บ้านเรื่อยๆ ด้วยจึงทำให้บ้านกลายเป็นหนี้สินอย่างเห็นได้ชัด แต่ๆๆ ไม่ได้จะบอ กว่าไม่ให้ซื้อบ้านนะ ถ้าซื้อด้วยความจำเป็น มันก็โอเค จุดสำคัญคือ เราต้องเข้าใจว่าสินทรัพย์และหนี้สินต่างกันอย่างไร

พ่อจนบอ กว่า “เรียนให้หนักเข้าไว้ จะได้ทำงานในบริษัทดีๆ”

พ่อรวยบอ กว่า “เรียนให้หนักเข้าไว้ จะได้สามารถเป็นเจ้าของบริษัทดีๆ ได้”

เหล่าคนรวยมักไม่กลัวที่จะคิดการใหญ่ พวกเขาจะตั้งความหวังไว้สูงๆ และคาดหวังว่าจะทำเงินได้เยอะๆ ในขณะที่คนธรรมดาทั่วไปคาดหวัง ว่าพวกเขาจะต้องลำบากและไม่ได้ตั้งเป้าห ม ายไว้สูงมาก

พ่อจนบอ กว่า “เรื่องเงินทอง อย่าไป เ สี่ ย ง ”

พ่อรวยบอ กว่า “จงเรียนรู้วิธีบริหารความ เ สี่ ย ง ”

มีหลายคนที่กลัวความ เ สี่ ย ง จึงเก็บเงินไว้กับตัวเอง นั่นเพราะพวกเขาอาจจะไม่รู้ว่าจริง ๆ ความ เ สี่ ย ง นั้นสามารถบริหารจัดการกันได้ คนรวยส่วนใหญ่ลงเล่นเกมการเงินก็เพื่อเอาชนะซึ่งพวกเขาต้องมีความกล้าได้กล้าเสียระดับหนึ่งแต่ขณะเดียวกันพวกเขาก็สามารถรับความไม่แน่ไม่นอนได้

นั่นห ม ายความว่า พวกเขาไม่ได้แค่หลับหูหลับตาก้าวเข้าไปสู้รบแบบไม่รู้เรื่องอะไรแบบนั้น อั น ต ร า ย พวกเขาต้องกล้าที่จะรับความ เ สี่ ย ง แบบชาญฉลาด ซึ่งต้องใช้ประสบการณ์ และความรู้ระดับหนึ่งดังนั้น เพื่อที่จะให้ได้ประสบการณ์และความรู้มากขึ้น

เราก็ต้องลอง! ลองผิดลองถูกและเรียนรู้ทุกครั้งเมื่อสำเร็จหรือล้มเหลวสิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้เรา และทำให้เราเข้าใจความ เ สี่ ย ง มากขึ้น

พ่อจนบอ กว่า “ฉันไม่สนใจเรื่องเงินหรอ ก”

พ่อรวยบอ กว่า “เงินคืออำนาจ”

พวกเราส่วนใหญ่มักถูกสอนให้เรียนดีๆ หางานดีๆ และจงพอใจในชีวิตที่เรามีอยู่เสีย จะว่าเป็นความคิดที่ดีมันก็ดีมันทำให้เราไม่โลภ อยาก ได้อะไรเกินตัวเกินไป แต่ในขณะเดียวกัน มันก็อาจจะปิดกั้นศักยภาพบางอย่างของเราที่อาจจะเติบโตได้อีกในทางตรงกันข้าม

คนรวยจะคิดถึงเรื่องเงินแบบเป็นขั้นเป็นตอน และมองเงินว่าเป็นเครื่องมือที่มีอำนาจซึ่งสามารถนำมา ซึ่งตัวเลือ กและโอ กาสต่างๆ ได้พูดง่ายๆ คือ ไม่ว่าเงินจะถูกมองไม่ดีอย่างไร แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าการมีเงินเยอะๆ ก็ถือเป็นแต้มต่อให้ชีวิตจริงๆ

พ่อจนบอ กว่า “ฉันทำงานเพื่อเงิน”

พ่อรวยบอ กว่า “เงินทำงานให้ฉัน”

ความแตกต่างระหว่างคนรวยกับคนธรรมดา อย่างหนึ่งก็คือวิธีที่พวกเขาได้รับเงิน คนธรรมดาส่วนใหญ่ก็ทำงานแลกเวลาหาเงินกันไปเงินเดือนออ กทีก็ชาบูที วิธีนี้แม้จะการันตี ว่าได้เงินแน่นอนแต่ถ้ามัวแต่ทำงานแบบนี้อย่างเดียวโดยไม่หาทางให้เงินงอ กเงยทางอื่นเลยก็อาจจะทำให้เงินไม่พอในอนาคต

และมีความ เ สี่ ย ง หากเกิดกรณีตกงานอีกในขณะที่คนรวยนั้นส่วนใหญ่จะมีธุรกิจเป็นของตัวเอง ทำงานแบบมีค่าคอมมิชชั่นหรือเลือ กลงทุน ในสินทรัพย์ต่างๆ หลายคนอาจจะบ่นว่า โห มีเงินแค่นี้ จะให้มันทำอะไรได้ ไม่พอหรอ ก ซึ่งเราก็ปฏิเสธ

แต่ชีวิตเราไม่จำเป็นต้องเลือ กทางเดียว เราสามารถทำงานไปด้วยและให้เงินทำงานแทนเราไปพร้อม ๆ กันก็ได้ ผ่านการลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เช่น หุ้น กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ หรือ สร้างธุรกิจเล็ก ๆ ที่พอจะสร้างกำไรให้เราได้ ควบคู่ไปด้วย

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.