1. รู้จักตัวเองด้วยการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
หากที่ผ่าน มา คุณใช้ชีวิตอย่างมีอิสระ ไปกินข้าว ดูหนัง จัดทริปท่องเที่ยวสุดพิเศษ หรือช้อปปิ้ง ทุกสิ่งที่ต้องการ เรียกว่าเปย์ตัวเองแบบจัดเต็ม ต้องระวังให้ดี ถ้านิดหน่อยพอให้ดีต่อใจก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าใช้จ่ายเพลินเกินไปจนขาดสติสภาพคล่องทางการเงินของเราอาจอยู่ในระดับเดือนชนเดือน
เผลอ ๆ อาจเหลือไม่พอใช้ถึงสิ้นเดือน ด้วยซ้ำ ยิ่งปล่อยไว้นาน ๆ คงไม่ดีแน่ ส่วนเรื่องเก็บเงินก้อน หรือ การวางแผนทางการเงินเพื่อ รองรับวัยเกษียณหรือลงทุนในอนาคตคงหมดหวังไปได้เลย เพราะฉะนั้น การทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายจึงเป็นจุดเริ่มต้นการวางแผนการเงินที่ดีที่สุด
เราจะเห็นว่าตัวเองมีรายรับจากกี่ช่องทาง จำนวนทั้งหมดเท่าไร ใช้จ่ายไปกับอะไรบ้าง ทั้งรายจ่ายรายเดือนที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น ค่าใช้จ่ายสำหรับครอบครัว ค่าผ่อนบ้าน ผ่อนรถ หนี้บัตรเครดิต ฯลฯค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน เช่น ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ค่าข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้าน ค่าสังสรรค์ ฯลฯ
นอ กจากจะรู้ว่าเงินของเรา ไปอยู่ตรงไหนบ้างแล้วยังทำให้เห็นว่า ควรลดรายจ่ายไหนที่ไม่จำเป็นและที่สำคัญคือ รายรับต้องมากกว่ารายจ่าย เพราะเราจะได้แบ่งเงิน จากรายรับมาเก็บออมตาม แผนเพื่อบรรลุเป้าห ม ายของตนเองและช่วยให้เราวางแผนการเงินในอนาคตได้ดีขึ้น
2. วางแผนการออมเงินตามเป้าห ม ายชีวิต
เพราะเป้าห ม าย ทำให้เรามีแรงผลักดัน ฉะนั้นเราควรตั้งเป้าห ม ายชีวิต เพื่อวางแผนการใช้เงินและกำหนดทิศทาง การออมเงินให้สำเร็จตามที่ตั้งใจไว้ เช่น ต้องการเก็บเงินซื้อบ้าน ซื้อรถ เที่ยวต่างประเทศ แต่งงาน เรียนต่อ ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของบุตรหลาน เป็นต้น
หากยังไม่แน่ใจหรือไม่มีเทคนิค การเก็บออมในใจ อาจเริ่มต้นด้วยการแบ่งเงิน จากรายได้ ประมาณ 10-20% มาเก็บออมไว้ทันที หากกลัวว่าจะเก็บเงินไม่อยู่ สามารถใช้การตัดผ่านบัญชีอัตโน มัติในระหว่างนี้ ก็ศึกษาหาข้อมูลด้านการวางแผนทางการเงิน
และการเก็บออมเพิ่มเติมไปด้วย แล้วนำมาประยุกต์ให้เห ม าะกับตนเอง ไม่ว่าเป้าห ม ายจะเล็กหรือใหญ่แค่ไหนก็เป็นไปได้แน่นอน
3. เก็บเงินสำรองฉุกเฉินเมื่อเกิดเรื่องไม่คาดฝัน
สาเหตุที่การวางแผนการเงินนั้นสำคัญมาก ก็เพราะว่าชีวิตคนเรามักไม่แน่นอน หากพรุ่งนี้คุณต้องตกงานกิจการขาดทุนหนัก หรือต้องใช้เงินก้อนโตกะทันหัน เงินสำรองฉุกเฉิน เป็นสิ่งที่ต้องมีให้พร้อม ถ้าเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้นเมื่อไรก็หยิบเงินก้อนนั้น มาใช้ได้เลย
ซึ่งควรมีกระแสเงินสด อย่างน้อย 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายทั้งหมด เช่น คุณมีรายจ่าย ต่อเดือนทั้งหมด 10,000 บาท คุณจึงควรจะวางแผนการเงินและมีเงินสำรองฉุกเฉินประมาณ 30,000-60,000 บาท เพื่อให้สภาพคล่องยังดำเนินต่อไปแม้ชีวิตจะไม่เหมือนเดิมก็ตาม
4. วางแผนค่าใช้จ่ายเพื่อ สุ ข ภ า พ
หลายคนอาจจะคิดว่า ที่ผ่าน มาเราใช้ชีวิต ดีมาตลอด ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออ กกำลังกายเป็นประจำ หรือพักผ่อนอย่างเพียงพอแล้วก็ตาม แต่ โ ร ค ภั ย ไ ข้ เ จ็ บ ก็อาจเกิดขึ้นแบบไม่ทันตั้งตัว
แถมค่าใช้จ่ายยังสูงอีกด้วย ดังนั้น เราต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่ายเพื่อ สุ ข ภ า พ เป็นพิเศษไม่ว่าจะเป็นค่า รั ก ษ า พ ย า บ า ล ค่าจ้างพ ย า บ า ล พิเศษหากเป็น โ ร ค ร้ า ย และไม่สามารถดูแลตัวเองได้ หรือค่าใช้จ่ายสำหรับบ้านพักคนชรา
ซึ่งวางแผนการเงินเพื่อค่าใช้จ่ายด้าน สุ ข ภ า พ ทำได้หลายวิธี ทั้งการออมเงินเป็นประจำทุกเดือน ด้วยตนเอง หรือ การซื้อประกัน สุ ข ภ า พ ประกัน อุ บั ติ เ ห ตุ หรือประกัน โ ร ค ร้ า ย แ ร ง ไว้ก็ช่วยได้อีกทางหนึ่ง
5. วางแผนการเงินเพื่อชีวิตเกษียณที่มั่งคั่งและมีความสุข
คำถามที่ว่าควรวางแผนการเงิน สำหรับชีวิตเกษียณ เมื่อไรดี? คำตอบคือควรเริ่มต้น ตั้งแต่ตอนนี้ดีที่สุด เพื่อปูทางสู่ความมั่งคั่งในอนาคต แถมยังมีโอ กาสใช้ชีวิต ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ และความต้องการของตนเองได้โดยไม่ลำบากการวางแผนทางการเงิน อาจเริ่มต้นจากการคำนวณคร่าว ๆ ว่า
ตอนนี้คุณอายุเท่าไร ต้องการเกษียณตอนไหน และอยากมีเงิน ใช้เดือนละเท่าไร เช่น ตอนนี้คุณอายุ 30 ปี ต้องการเกษียณตอนอายุ 55 ปีและอยากมีเงินใช้หลังจากเกษียณเดือนละ 20,000 บาท (เ สี ย ชี วิ ต ตอนอายุ 80 ปี)
เท่ากับว่าคุณมีเวลา 25 ปีในการเก็บเงิน และใช้เงินหลังเกษียณอีก 25 ปีเช่นกัน เพราะฉะนั้น คุณต้องมีเงินก้อนประมาณ 6,000,000 บาทนั่นเอง
6. ลงทุนให้เงินทำงานแทนเรา
เพื่อให้เงินที่เราหามาได้ งอ กเงยขึ้น อย่างมีคุณค่าและสามารถทำกำไรได้ในระยะยาว การวางแผนทางการเงินด้วยการลงทุน นับเป็นอีกทางเลือ ก ที่น่าสนใจมากทีเดียว เพราะมีโอ กาสสร้างผลตอบแทนได้ดี กว่าการเก็บเงินไว้เฉย ๆ แถมยังได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอีกด้วย
ซึ่งขึ้นอยู่กับสินทรัพย์ ที่ลงทุน และระดับความ เ สี่ ย ง ที่รับได้ ซึ่งปัจจุบัน มีเทคนิคการลงทุนให้เลือ กมากมาย เช่น ลงทุนให้หุ้น กองทุนรวม ตราส า รหนี้ หรือสินทรัพย์ทางเลือ ก อย่างทองคำ น้ำมัน อสังหาริมทรัพย์ ฯลฯ